สล็อตแตกง่ายจอน อึ๊งภากรณ์ คือใคร รู้จัก จอน อึ๊งภากรณ์ เป็นอะไรกับ iLaw

สล็อตแตกง่ายจอน อึ๊งภากรณ์ คือใคร รู้จัก จอน อึ๊งภากรณ์ เป็นอะไรกับ iLaw

จอน อึ๊งภากรณ์ เกิดเมื่อ 19 กันยายน พ.ศ. 2490 ปัจจุบันเป็นสล็อตแตกง่าย คณะกรรมการ iLaw ตำแหน่งผู้อำนวยการโครงการ อดีตกรรมการนโยบายองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร ผู้ก่อตั้ง มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ และประชาไท

จอน เป็นบุตรชายคนโต ของ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ บุคคลสำคัญทางการเมืองไทย 

จอนสำเร็จการศึกษาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ จากมหาวิทยาลัยซัสเซ็กส์ (Sussex) ที่อังกฤษ ทำงานเป็นอาจารย์สอนนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นเวลา 5 ปี แต่จากเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมืองในช่วง พ.ศ. 2516–19 ทำให้เขาหันมาสนใจประเด็นปัญหาทางสังคม

เมื่อ พ.ศ. 2523 ได้ก่อตั้งโครงการอาสาสมัครเพื่อสังคม (ภายหลังจัดตั้งเป็น มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม) เพื่อสร้างบัณฑิตอาสาสมัคร ให้ช่วยเหลือคนยากจนในชนบท และทำงานร่วมกับองค์กรพัฒนาเอกชน (เอ็นจีโอ) จอนยังมีส่วนช่วยองค์กรพัฒนาเอกชนที่ตั้งขึ้นใหม่ ให้มีการบริหารจัดการที่ดี และช่วยเหลือด้านเงินทุนสำหรับโครงการต่าง ๆ และมีส่วนในการประสานภาคประชาสังคมเข้าด้วยกัน

จอนได้ก่อตั้ง มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ พ.ศ. 2534 ริเริ่มการให้คำปรึกษาแก่ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และครอบครัวของผู้ป่วยเหล่านั้น เพื่อต่อสู้เรื่องปัญหาการรังเกียจและเข้าใจผู้ป่วยเหล่านี้ผิด และพยายามให้ความรู้ในเรื่องสิทธิผู้ป่วยที่จะได้รับการรักษาอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ

พ.ศ. 2543 จอน อึ๊งภากรณ์ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร แม้ว่าในขณะนั้นจอนยังเป็นที่รู้จักในหมู่ประชาชนทั่วไปไม่มากนักก็ตาม ทั้งนี้ก็เพื่อจะได้มีโอกาสในการสร้างความเข้าใจกับสังคมและมีโอกาสในการทำงานเพื่อสังคมให้มากขึ้น ทั้งนี้จอนได้เป็นเลขานุการคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ วุฒิสภา และเป็นประธานคณะอนุกรรมาธิการหลักประกันทางสังคม ของวุฒิสภาด้วย ครั้นเมื่อเมื่อปี พ.ศ. 2547 ก็ได้ร่วมกับกลุ่มเพื่อนก่อตั้งหนังสือพิมพ์ออนไลน์อิสระ ชื่อ ประชาไท

จอน อึ๊งภากรณ์ได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการรัฐกิจ ประจำปี ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548) จากการประกาศเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2548 และเข้ารับรางวัลที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ในวันที่ 31 สิงหาคม ปีเดียวกัน เป็นที่น่าสังเกตว่าจอนได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาเดียวกันกับศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ผู้เป็นบิดา ซึ่งได้รับรางวัลนี้เมื่อ พ.ศ. 2508

เพื่อไทย ประชุมหยั่งเสียงโหวตก่อนโหตวจริงในสภา ส.ส. เพื่อไทย ยกมือโหวตรับร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนในที่ประชุม

คืบหน้าจากวานนี้ ในการประชุมรัฐสภา วาระพิจารณารับร่างรัฐธรรมนูญ ในกรณีของร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน  7 ฉบับ วันนี้ นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ หัวหน้าพรรคเพื่อไทย เรียกประชุม ส.ส.ของพรรค เพื่อรับฟัวมติว่าเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่เสนอโดย iLwa หรือไม่ ก่อนที่จะมีการโหวตร่างรัฐธรรมนูญจริงในสภา

ก่อนหน้านี้ในการประชุมของพรรคได้มีข้อเสนอมาก่อนว่า ให้ฟังรายละเอียดร่างรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวก่อนตัดสินใจโหวต เพราะกลัวจะเป็นช่องให้โดนโจมตีในข้อหาเข้าข่ายล้มล้างการปกครองหรือไม่ ซึ่งความกังวลดังกล่าว นายชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภา ได้วินิจฉัยและตรวจสอบแล้ว ไม่มีข้อใดขัดมาตรา 255 = ไม่เข้าข่ายล้มล้างการปกครอง หรือเปลี่ยนโครงสร้างของประเทศ เมื่อวันที่ 16 กันยายน ที่ผ่านมา

ดังนั้น ในการประชุมเมื่อช่วงเที่ยงที่ผ่านมาของพรรคเพื่อไทย เมื่อขอเสียงจาก ส.ส. ปรากฎว่า  ส.ส.พรรคเพื่อไทยในที่ประชุมยกมือเห็นด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน

ม็อบ17พฤศจิกา เจ้าหน้าที่ตำรวจสลายการชุมนุมที่ขัดต่อหลักสากล

#ม็อบ17พฤศจิกา เจ้าหน้าที่ตำรวจสลายการชุมนุมที่ขัดต่อหลักสากล

วันนี้ (17 พฤศจิกายน 2563) ตามที่แกนนำการชุมนุมกลุ่มต่างๆ ได้มีการนัดหมายชุมนุมบริเวณรัฐสภา เกียกกาย มีเหตุการปะทะกันระหว่างผู้ชุมนุม (ม็อบ) กับเจ้าหน้าที่รัฐ โดยเหตุการณ์ปะทะกันเริ่มตั้งแต่ช่วงเวลาประมาณ 14.13 น. หลังทีมการ์ดผู้ชุมนุม หรือ กลุ่มมวลชนอาสา (We Volunteer) ได้เก็บรื้อเครื่องกีดขวาง อาทิ รั้วลวดหนามของเจ้าหน้าที่ตำรวจ แต่เจ้าหน้าที่ได้ตอบโต้ด้วยการฉีดน้ำแรงดันสูงที่ก่อให้เกิดความระคายเคืองใส่กลุ่มการ์ดและมีการประกาศว่า หากไม่ถอยจะใช้กระสุนยาง

ต่อมา ในเวลา 15.11 น. เจ้าหน้าที่ตำรวจก็ยังมีการใช้รถน้ำแรงดันสูงฉีดน้ำผสมสารที่สร้างความระคายเคืองใส่ผู้ชุมนุม และยังมีรายงานเจ้าหน้าที่ใช้รถน้ำแรงดันสูงฉีดน้ำใส่ผู้ชุมนุมล่วงไปจนถึงเวลา 19.22 น. โดยมีการเจรจากับกลุ่มผู้ชุมนุมเป็นระยะๆ และหลังจากนั้น ทางเจ้าหน้าที่ตำรวจก็ได้มีการใช้ปืนยิงแก๊สน้ำตาต่อผู้ชุมนุมอีกหลายครั้ง มีผู้ได้รับบาดเจ็บแล้วอย่างน้อย 18 คน (ข้อมูลจากวชิรพยาบาล)

อย่างไรก็ดี หากดูหลักสากลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการใช้กำลังและอาวุธของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ชุมนุม ได้แก่

หนึ่ง หลักการพื้นฐานว่าด้วยการใช้กำลังและอาวุธโดยเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย (Basic Principles of the Use of Force and Firearms by Law Enforcement Officials) ที่รับรองโดยสหประชาชาติครั้งที่ 8 ว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อจำเลย เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม ถึง 7 กันยายน 2533 ที่กรุงฮาวานา ประเทศคิวบา ข้อ 12 กำหนดว่า ประชาชนมีสิทธิเข้าร่วมการชุมนุมสาธารณะที่ชอบด้วยกฎหมายและโดยสงบ ซึ่งถ้าหากมีการใช้กำลังของเจ้าหน้าที่รัฐ การใช้กำลังนั้นก็จะต้องเป็นไปอย่างจำกัด ตามหลักการสล็อตแตกง่าย